หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | องค์การบริหารส่วนตำบลสาคู |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | การนำระบบหรือเชิงกลไกที่ก่อให้เกิดการพัฒนาองค์กร หรือเครือข่ายชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม โดยการใช้ประโยชน์นั้น ก่อให้เกิดผลดีหรือประโยชน์ ดังนี้ 1. ชุมชนได้รับการเสริมสร้างศักยภาพการท่องเที่ยวในชุมชนเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เกิดเส้นทางท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนในตำบลสาคูนำไปสู่การสร้างความเข้มแข็ง การสร้างงานและสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน 2. เกิดเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงเกษตรแห่งใหม่ขึ้นในตำบลสาคู ซึ่งจะนำไปสู่การสร้างงาน สร้างอาชีพ และการกระจายรายได้สู่ชุมชนท้องถิ่น และเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจฐานรากในท้องถิ่น 3. เกิดความตระหนักรู้ในประโยชน์ของการการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติให้ยังคงความอุดมสมบูรณ์ มีจิตสำนึกที่ดีในการร่วมกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่เนื่องจากเป็นฐานทรัพยากรที่มีคุณค่าต่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร |
งานวิจัย | การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนในพื้นที่ตำบลสาคู อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต |
คณะ | คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
นักวิจัย | อ. กนกวรรณ แก้วอุไทย |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | สมาคมผู้บริโภคอินทรีย์ไทย (TOCA) |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | การนำไปใช้ระบบหรือเชิงกลไกที่ก่อให้เกิดการพัฒนาองค์กร หรือเครือข่ายชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม เครือข่ายความร่วมมือด้านเกษตรอินทรีย์ ให้ขยายสู่ชุมชนในจังหวัดภูเก็ต ร่วมกันจัดอบรมและจัดกิจกรรม เพื่อสร้างนวัตรกรเกษตรอินทรีย์ แบบมีส่วนร่วม จำนวน 14 คน ใน 4 พื้นที่ ชุมชน ได้แก่ ชุมชนบ้านลิพอนบางกอก ชุมชนบ้านลิพอนใต้ ชุมชนบ้านม่าหนิก ตำลศรีสุนทร และชุมชนบ้านบางเทา ตำบลเชิงทะเล อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต |
งานวิจัย | การยกระดับเศรษฐกิจฐานรากด้วยห่วงโซ่คุณค่าสังคมเกษตรอินทรีย์สู่การพึ่งตนเองและความเข้มแข็งของชุมชน |
คณะ | คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
นักวิจัย | อ. เบญจพร แก้วอุไทย |
ปีปฏิทิน | 2022 |
ปีงบประมาณ | 2023 |
ปีการศึกษา | 2022 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | องค์การบริหารส่วนตำบลสาคู |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | 1. ชุมชนได้รับการเสริมสร้างศักยภาพการท่องเที่ยวในชุมชนเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เกิดเส้นทางท่องเที่ยวเชิงเกษตร โดยชุมชนในตำบลสาคูนำไปสู่การสร้างความเข้มแข็ง การสร้างงานและสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน 2. เกิดเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงเกษตรแห่งใหม่ขึ้นในตำบลสาคู ซึ่งจะนำไปสู่การสร้างงาน สร้างอาชีพ และการกระจายรายได้สู่ชุมชนท้องถิ่น และเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจฐานรากในท้องถิ่น 3. เกิดความตระหนักรู้ในประโยชน์ของการการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติให้ ยังคงความอุดมสมบูรณ์ มีจิตสำนึกที่ดีในการร่วมกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาตใิ น พื้นที่เนื่องจากเป็นฐานทรัพยากรที่มีคุณค่าต่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร |
งานวิจัย | การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนในพื้นที่ตำบลสาคู อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต |
คณะ | คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
นักวิจัย | อ. เบญจพร แก้วอุไทย |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | กลุ่มวิสาหกิจสาคูรวมใจพัฒนา |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | 1. ชุมชนได้รับการเสริมสร้างศักยภาพการท่องเที่ยวในชุมชนเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เกิดเส้นทางท่องเที่ยวเชิงเกษตร โดยชุมชนในตำบลสาคูนำไปสู่การสร้างความเข้มแข็ง การสร้างงานและสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน 2. เกิดเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงเกษตรแห่งใหม่ขึ้นในตำบลสาคู ซึ่งจะนำไปสู่การสร้างงาน สร้างอาชีพ และการกระจายรายได้สู่ชุมชนท้องถิ่น และเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจฐานรากในท้องถิ่น 3. เกิดความตระหนักรู้ในประโยชน์ของการการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติให้ ยังคงความอุดมสมบูรณ์ มีจิตสำนึกที่ดีในการร่วมกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาตใิ น พื้นที่เนื่องจากเป็นฐานทรัพยากรที่มีคุณค่าต่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร |
งานวิจัย | การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนในพื้นที่ตำบลสาคู อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต |
คณะ | คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
นักวิจัย | อ. เบญจพร แก้วอุไทย |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | สำนักงานเกษตรจังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | สำนักงานเกษตรจังหวัดภูเก็ตนำข้อมูลงานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาปุ๋ยอินทรีย์จากเปลือกปูม้าไปเผยแพร่แก่ประชาชน ในโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ เพื่อพัฒนาศักยภาพเกษตรกร ในวันที่ 13 ธันวาคม 2567 ณ องค์การบริหารส่วนตำบลเชิงทะเล อ.ถลาง จ.ภูเก็ต เป็นการนำองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ๆ เผยแพร่แก่เกษตรกร ซึ่งผลงานวิจัยนี้เป็นแนวทางการแก้ปัญหาคุณภาพดินเสื่อม ช่วยลดการใช้ปุ๋ยเคมี และสร้างมูลค่าให้แก่วัสดุเศษเหลือทางการประมง ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางเกษตรยั่งยืนในพื้นที่ตำบลเชิงทะเล และนโยบายชาติในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบ BCG model และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน SDG13:Climate action |
งานวิจัย | การพัฒนาศักยภาพธนาคารปูม้าชุมชนและเครือข่ายในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต พังงา และระนอง เพื่อความยั่งยืน |
คณะ | คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
นักวิจัย | อ.ดร. ภัทริดา เริงจิตร |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | ผู้ใหญ่บ้านบ่อแร่ |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | งานวิจัยสามารถนำไปใช้ประโยชน์ด้วยการกระตุ้นการท่องเที่ยวโดยชุมชน การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน การให้ผู้บริหารสามารถนำไปปรับใช้ให้สอดคล้องกับนโยบายเพื่อให้การท่องเที่ยวโดยชุมชน การส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน ชุมชนท่องเที่ยวบ้านบ่อแร่ ตำบลวิชิต อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต ส่งผลต่อคุณค่าทางจิตใจต่อประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในตำบลวิชิต และพื้นที่ใกล้เคียง ซึ่งสามารถนำไปใช้อย่างจริงจังและเกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า |
คณะ | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
นักวิจัย | อ.ดร. กฤต เกษตรวัฒนผล |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | วิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวบ้านบ่อแร่ |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | การนำงานวิจัยไปใช้ประอบการท่องเที่ยวโดยชุมชน ชุมชนท่องเที่ยวบ้านบ่อแร่ ตำบลวิชิต อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต เพื่อพัฒนาและปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในการส่งเสริมการท่องเที่ยว ตลอดจนพัฒนาศักยภาพ สิ่งที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สามารถนำไปต่อยอดให้เกิดองค์ความรู้ได้อย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรมได้มากขึ้น |
คณะ | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
นักวิจัย | อ.ดร. กฤต เกษตรวัฒนผล |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | International Journal for Equity in Health |
---|---|
งานวิจัย | เหตุผลในการตัดสินใจฉีดหรือปฏิเสธการฉีดวัคซีนโควิด 19 ของผู้สูงอายุในจังหวัดภูเก็ต |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | รศ.ดร. ชญานิศ ลือวานิช |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Scopus |
---|---|
งานวิจัย | Cryopreservation of a Thermotolerant Lineage of the Coral Reef Dinoflagellate Symbiodinium |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ.ดร. ปรียานุช ทองภู่ |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | การสร้างความตระหนักรู้ และเห็นคุณค่าทรัพยากรทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ ความเชื่อทางจิตวิญญาณที่เกี่ยวกับโต๊ะของกลุ่มชาติพันธ์ุชาวเลที่สัมพันธ์กับเรื่องเล่า ตำนาน พิธีกรรม อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ ความเป็นตัวตน การสำนึกและธำรงไว้ซึ่งกลุ่มชาติพันธุ์ ส่งผลต่อความภาคภูมิใจ ความรัก ความหวงแหนในพื้นที่หรือชุมชนของตนเอง และพร้อมนำเสนอให้สาธารณชนได้รับรู้ อันจะนำไปสู่การสร้างคุณภาพชีวิตที่มีคุณค่า และมูลค่าต่อไป |
งานวิจัย | ความเชื่อทางจิตวิญญาณ “โต๊ะ” : การสร้างความหมายในพื้นที่พิธีกรรมของชาวเลฝั่งอันดามัน |
คณะ | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
นักวิจัย | ผศ.ดร. รุ่งรัตน์ ทองสกุล |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | วิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวบ้านบ่อแร่ ตำบลวิชิต อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | การนำงานวิจัยไปใช้ประอบการท่องเที่ยวโดยชุมชน ชุมชนท่องเที่ยวบ้านบ่อแร่ ตำบลวิชิต อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต เพื่อพัฒนาและปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในการส่งเสริมการท่องเที่ยว ตลอดจนพัฒนาศักยภาพ สิ่งที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สามารถนำไปต่อยอดให้เกิดองค์ความรู้ได้อย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรมได้มากขึ้น |
คณะ | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
นักวิจัย | ดร. จารุณี คงกุล |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | ผู้ใหญ่บ้านชุมชนบ้านบ่อแร่ |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | งานวิจัยสามารถนำไปใช้ประโยชน์ด้วยการกระตุ้นการท่องเที่ยวโดยชุมชน การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน การให้ผู้บริหารสามารถนำไปปรับใช้ให้สอดคล้องกับนโยบายเพื่อให้การท่องเที่ยวโดยชุมชน การส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน ชุมชนท่องเที่ยวบ้านบ่อแร่ ตำบลวิชิต อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต ส่งผลต่อคุณค่าทางจิตใจต่อประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในตำบลวิชิต และพื้นที่ใกล้เคียง ซึ่งสามารถนำไปใช้อย่างจริงจังและเกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า |
คณะ | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
นักวิจัย | ดร. จารุณี คงกุล |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | วิสาหกิจชุมชนผ้ามัดย้อมเขาปิหลาย ต.โคกกลอย อ.ตะกั่วทุ่ง จ.พังงา |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | • การใช้ประโยชน์เชิงสาธารณะ การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ การใช้ประโยชน์ทางอ้อม ลักษณะการนำไปใช้ • การนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงสาธารณะ : เพื่อแก้ปัญญาในท้องถิ่น ขยายเครือข่าย • การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ : โดยการนำผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาออกจำหน่ายในงานต่างๆ ทำให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น • การใช้ประโยชน์ทางอ้อม : งานวิจัย/ งานสร้างสรรค์ / ซึ่งเป็นการสร้างคุณค่าทางจิตใจ ยกระดับจิตใจ ก่อให้เกิดสุนทรีภาพ สร้างสุข : การทำงานของชุมชนมีความรักสามัคคี |
งานวิจัย | การผลิตสี และเทคโนโลยีการพิมพ์สีธรรมชาติบนฐานทรัพยากรชุมชนท้องถิ่น แบบมีส่วนร่วมของวิสาหกิจชุมชน เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานราก |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ.ดร. สุธิดา รัตนบุรี |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ |
---|---|
งานวิจัย | ความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานโรงแรมระดับ 3-5 ดาว ในเขตจังหวัดภูเก็ต |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | ผศ. ณัฐวุฒิ เหมาะประมาณ |
ปีปฏิทิน | 2022 |
ปีงบประมาณ | 2022 |
ปีการศึกษา | 2022 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | วิสาหกิจชุมชนพรหมเทพแฮนด์เมด ตั้งอยู่เลขที่ 94/4 หมู่ที่ 6 ต.ราไวย์ อ.เมืองภูเก็ต จ.ภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | การนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงสาธารณะ : เพื่อแก้ปัญญาในท้องถิ่น ทำให้ชุมชนเกิดรายได้เพิ่มและมีความรู้ด้านพืชในท้องถิ่นที่สามารถนำมาย้อมผ้าได้ รวมถึงต่อยอดแบ่งปันความรู้ให้กับเด็ก ๆ ในชุมชน การใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย : การไปใช้ระบบ หรือเชิงกลไกที่ก่อให้เกิดการพัฒนาองค์กร หรือเครือข่ายอย่างเป็นรูปธรรม คือการนำผ้าที่ทำจากสีในชุมชน ไปตัดเย็บสวมใส่ และจำหน่ายในบางโอกาสรวมถึงแบ่งปันให้กับเด็ก ๆ ในโรงเรียนต่างๆ การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ : โดยการนำผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาออกจำหน่ายในงานต่างๆ และเรียนรู้ศึกษาเพิ่มเติม กับหน่วยงานต่าง ๆ มากขึ้น การใช้ประโยชน์ทางอ้อม : การทำงานกับชุมชนเน้นด้านความสุข เพราะทางกลุ่มทำงานด้านธรรมชาติ ออกเก้บใบไม้ ศึกษาสีของใบไม้ ทำให้คนในกลุ่มมีความสุข ได้เรียนรู้แบบไม่มีที่สิ้นสุด การใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ : สร้างสรรค์ทำให้เกิดลวดลายใหม่ ๆ สีใหม่ ๆ ผสมผสานสร้างความสุขสนุกสนาน เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ และการพัฒนาต่อยอด |
งานวิจัย | การผลิตสี และเทคโนโลยีการพิมพ์สีธรรมชาติบนฐานทรัพยากรชุมชนท้องถิ่น แบบมีส่วนร่วมของวิสาหกิจชุมชน เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานราก |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ.ดร. สุธิดา รัตนบุรี |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | วารสารวิชาการการบิน การเดินทาง และการบริการ |
---|---|
งานวิจัย | ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้โรงแรมขนาดเล็กในจังหวัด ภูเก็ตของนักท่องเที่ยวยุโรป |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | ผศ. ณัฐวุฒิ เหมาะประมาณ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Journal of Business, Innovation and Sustainability (JBIS) |
---|---|
งานวิจัย | ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันรถยนต์: ในรายการการแข่งขัน บางแสน ไทยแลนด์ สปีด เฟสติวัล จังหวัดชลบุรี |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | ผศ. ณัฐวุฒิ เหมาะประมาณ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | วิสาหกิจชุมชนผ้ามัดย้อมเขาปิหลาย |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | การนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงสาธารณะ : เพื่อแก้ปัญญาในท้องถิ่น ขยายเครือข่าย การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ โดยการนำผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาออกจำหน่ายในงานต่างๆ ทำให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น การใช้ประโยชน์ทางอ้อมของงานวิจัย/ งานสร้างสรรค์ / ซึ่งเป็นการสร้างคุณค่าทางจิตใจ ยกระดับจิตใจ ก่อให้เกิดสุนทรีภาพ สร้างสุข : การทำงานของชุมชนมีความรักสามัคคี |
งานวิจัย | การผลิตสี และเทคโนโลยีการพิมพ์สีธรรมชาติบนฐานทรัพยากรชุมชนท้องถิ่น แบบมีส่วนร่วมของวิสาหกิจชุมชน เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานราก |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ. ภูริณัฐ ปลัดสงคราม |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Scopus |
---|---|
งานวิจัย | Antioxidant, Anti-Tyrosinase, and Anti-Skin Pathogenic Bacterial Activities and Phytochemical Compositions of Corn Silk Extracts, and Stability of Corn Silk Facial Cream Product_1 |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ.ดร. ปาวลี ศรีสุขสมวงศ์ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Scopus |
---|---|
งานวิจัย | Collagenase and Tyrosinase Inhibitory Activities and Stability of Facial Cream Formulation Containing Cashew Leaf Extract |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ.ดร. ปาวลี ศรีสุขสมวงศ์ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | scopus |
---|---|
งานวิจัย | Thai University Student Travel Behavior: An Extension of Theory of Planned Behavior |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | ผศ.ดร. ชิดชนก อนันตมงคลกุล |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | วิสาหกิจชุมชนพรหมเทพแฮนด์เมด ตั้งอยู่เลขที่ 94/4 หมู่ที่ 6 ต.ราไวย์ อ.เมืองภูเก็ต จ.ภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | การนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงสาธารณะ : เพื่อแก้ปัญญาในท้องถิ่น ทำให้ชุมชนเกิดรายได้เพิ่มและมีความรู้ด้านพืชในท้องถิ่นที่สามารถนำมาย้อมผ้าได้ รวมถึงต่อยอดแบ่งปันความรู้ให้กับเด็ก ๆ ในชุมชน การใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย : การไปใช้ระบบ หรือเชิงกลไกที่ก่อให้เกิดการพัฒนาองค์กร หรือเครือข่ายอย่างเป็นรูปธรรม คือการนำผ้าที่ทำจากสีในชุมชน ไปตัดเย็บสวมใส่ และจำหน่ายในบางโอกาสรวมถึงแบ่งปันให้กับเด็ก ๆ ในโรงเรียนต่างๆ การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ โดยการนำผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาออกจำหน่ายในงานต่างๆ และเรียนรู้ศึกษาเพิ่มเติมกับหน่วยงานต่าง ๆ มากขึ้น การใช้ประโยชน์ทางอ้อมของงานวิจัย/ งานสร้างสรรค์ / ซึ่งเป็นการสร้างคุณค่าทางจิตใจ ยกระดับจิตใจ ก่อให้เกิดสุนทรีภาพ สร้างสุข : การทำงานของชุมชนเน้นความสุข เพราะทางกลุ่มทำงานสีธรรมชาติ ออกเก็บใบไม้ ศึกษาสีของใบไม้ ทำให้กลุ่มมีความสุขได้เรียนรู้แบบไม่มีที่สิ้นสุด การใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์/ เป้าหมายของงานวิจัย/ งานสร้างสรรค์ คือ งานสร้างสรรค์ทำให้เกิดลวดลายใหม่ ๆ สีใหม่ ๆ ผสมกับความสนุกสนาน งานวิจัยเกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ และนำไปต่อยอด |
งานวิจัย | การผลิตสี และเทคโนโลยีการพิมพ์สีธรรมชาติบนฐานทรัพยากรชุมชนท้องถิ่น แบบมีส่วนร่วมของวิสาหกิจชุมชน เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานราก |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ. ภูริณัฐ ปลัดสงคราม |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัาง |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการรองรับการประกาศใช้ พ.ร.บ. การจัดการบรรจุภัณฑ์อย่างยั่งยืน (พ.ร.บ.EPR) ที่คาดว่าจะมีการประกาศใช้ภายในปี พ.ศ. 2570 |
งานวิจัย | การศึกษาแหล่งที่มาของขยะทะเลในสถานที่ท่องเที่ยว: กรณีศึกษาอ่าวบางเทา อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ.ดร. สินีนาฏ พวงมณี |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Scopus and ISI |
---|---|
งานวิจัย | ลิกแนนจากเปลือกลำต้นของกันเกรา |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ.ดร. สุธิดา รัตนบุรี |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Scopus and ISI |
---|---|
งานวิจัย | Acylphloroglucinols จากแปรงล้างขวด |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ.ดร. สุธิดา รัตนบุรี |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | กองการศึกษา เทศบาลตำบลรัษฎา |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | โรงเรียนนำไปใช้ต่อยอดหรือเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียนปฐมวัย สำหรับส่งเสริมกระบวนการคิดแก้ปัญหาและการคิดเชิงคำนวณในเด็กปฐมวัย เพื่อต่อยอดในระดับประถมต้น |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | อ. นพวรรณ กาโร |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | โรงเรียนตาริกพิทยพัฒน์ |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | นำผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาครูในโรงเรียน และพัฒนาทักษะการคิดข้ั้นสูงของนักเรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนตามโมเดลการสอนที่พัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง |
งานวิจัย | ขยายผลการปฏิรูปการสอนที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูงในเขตพื้นที่อันดามัน |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | ผศ.ดร. จุฬาลักษณ์ ใจอ่อน |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | นำผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาครูของโรงเรียน อบจ.บ้านตลาดเหนือ(วันครู 2502) ให้สามารถจัดการเรียนการสอนที่เน้นการแก้ปัญหาของนักเรียนได้ และพัฒนาทักษะการคิดข้ั้นสูงของนักเรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนตามโมเดลการสอนที่พัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง |
งานวิจัย | ขยายผลการปฏิรูปการสอนที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูงในเขตพื้นที่อันดามัน |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | ผศ.ดร. จุฬาลักษณ์ ใจอ่อน |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Scopus |
---|---|
งานวิจัย | Production of biosurfactant from a new and promising strain of Leucobacter komagatae 183 |
คณะ | คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
นักวิจัย | ผศ.ดร. อทิพันธ์ เสียมไหม |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Scopus |
---|---|
งานวิจัย | Isolation and functional characterization of a biosurfactant produced by a new and promising strain of Oleomonas sagaranensis AT18 |
คณะ | คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
นักวิจัย | ผศ.ดร. อทิพันธ์ เสียมไหม |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Scopus |
---|---|
งานวิจัย | Molasses as a whole medium for biosurfactants production by Bacillus strains and their application |
คณะ | คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
นักวิจัย | ผศ.ดร. อทิพันธ์ เสียมไหม |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | โรงเรียนน้ำผุด 125 หมู่ที่ 8 ต.น้ำผุด อ.เมือง จ.ตรัง |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | - การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ เป็นการส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถความรู้ไปใช้ในการหารายได้ ระหว่างเรียน และต่อยอดสู่อาชีพได้ - การใช้ประโยชน์ทางอ้อม ลดผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจให้กับนักศึกษาและผู้ปกครองได้ |
งานวิจัย | ปัจจัยการตัดสินใจการเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ. อุไรรัตน์ มากจันทร์ |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | นำชุดฝึกอบรมสมรรถนะการให้บริการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาของครูแนะแนว ให้ครูประจำชั้นในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ ได้นำไปใช้ประโยชน์ โดยการศึกษาและฝึกอบรมด้วยตนเอง จากชุดฝึกเพื่อให้เข้าใจบทบาทของตนเอง เข้าใจหน้าที่ของครูแนะแนว พัฒนาความรู้และเทคนิคด้านการแนะแนว และให้บริการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแกผู้เรียน และเขตพื้นที่การศึกษามีข้อมูลครูแนะแนว ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ได้จบทางด้านการแนะแนวโดยตรง ทั้งนี้เพื่อวางแผนพัฒนาและส่งเสริมครูด้านการให้บริการเชิงจิตวิทยากับครูแนะแนว ส่งผลต่อการให้ความช่วยเหลือ ให้บริการแก่ผู้เรียนในสังกัด |
งานวิจัย | การพัฒนาสมรรถนะการให้บริการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาของครูแนะแนว |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | อ. จุฑามาศ ชูจันทร์ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | เทศบาลตำบลรัษฏา |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | 1. การนำไปใช้ประโยชน์เชิงสาธารณะ (การใช้งานวิจัยให้เกิดประโยชน์แก่สาธารณชนในเรื่องต่างๆ ที่ทำให้สุขภาพ คุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจของประชาชน/ชุมชนดีขึ้น เช่น ด้านสาธารณสุข การจัดการSME เป็นต้น) สามารถนำหลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรียนรู้หรือพัฒนาคน ชุมชนหรือสังคมได้ในชีวิตจริง 2. การใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย (เช่น การนำผลจากการวิจัยไปประกอบเป็นข้อมูลการประกาศใช้กฎหมาย) สามารถนำผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก สู่ชุมชนจัดการตนเอง อย่างยั่งยืน ในจังหวัดกระบี่ 3. การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ (เช่น งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปสู่การพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ หรือผลิตภัณฑ์ซึ่งก่อให้เกิดรายได้ หรือนำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เป็นต้น) สามารถนำผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก สู่ชุมชนจัดการตนเอง อย่างยั่งยืน ในจังหวัดกระบี่ 4. การใช้ประโยชน์ทางอ้อมของงานวิจัย/งานสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นการสร้างคุณค่าทางจิตใจ ยกระดับจิตใจ ก่อให้เกิดสุนทรีภาพ สร้างความสุข งานวิจัยฉบับนี้เป็น สามรถทำให้เกิดการกระตุ้นให้หน่วยงานภาครัฐได้ขับเคลื่อนพัฒนาชุมชนต่อไป 5. การใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์/เป้าหมายของงานวิจัย/งานสร้างสรรค์ คือ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น มีองค์ความรู้ในงานพัฒนาชุมชนเกิดขึ้น ให้สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริง |
งานวิจัย | การขับเคลื่อนวิสาหกิจชุมชนให้เข้าถึงงบประมาณของรัฐเพื่อสร้างงาน สร้างรายได้สู่ชุมชนจัดการตนเองอย่างยั่งยืนในจังหวัดกระบี่ พังงา และภูเก็ต |
คณะ | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
นักวิจัย | อ.ดร. สุนันทา คันธานนท์ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | ศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามันตอนบน |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | ใช้เป็นข้อมูลรองรับการประกาศใช้ พ.ร.บ. การจัดการบรรจุภัณฑ์อย่างยั่งยืน (พ.ร.บ. EPR) ที่คาดการณ์ว่าจะมีการประกาศใช้ภายในปี พ.ศ. 2570 |
งานวิจัย | การศึกษาแหล่งที่มาของขยะทะเลในสถานที่ท่องเที่ยว: กรณีศึกษาอ่าวบางเทา อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ.ดร. สินีนาฏ พวงมณี |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | วิทยาลัยเทคนิคถลาง เลขที่ 215 หมู่ 5 ตำบลเทพกระษัตรี อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | การใช้ประโยชน์ด้านสาธารณสุข สำหรับใช้ขนส่งอุปกรณ์ด้านสาธารณสุขที่มีหน่วยงานที่ตั้งที่การคมนาคมไม่สะดวกในการเดินทาง |
งานวิจัย | การศึกษาและสร้างอากาศยานไร้คนขับชนิดปีกตรึงแบบหางเดียวโดยการควบคุมจากระยะไกลผ่านสัญญาณวิทยุ |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | ผศ. อนุวัตร จิรวัฒนพาณิช |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | สพม. ประจวบขีรีขันธ์ |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | เป็นต้นแบบหลักสูตรการจัดการเรียนรู้บูรณาการและการอบรมครูเพื่อการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ การออกแบบรูปแบบหรือโมเดลการพัฒนาครูเชิงพื้นที่ |
งานวิจัย | การพัฒนาการรู้สะเต็มของครู โดยรูปแบบการพัฒนาวิชาชีพครูที่ใช้แหล่งเรียนรู้สะเต็มศึกษานอกห้องเรียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดภูเก็ต (ภูมิภาคภาคใต้ ประเทศไทย) |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | ผศ.ดร. ศิริวรรณ ฉัตรมณีรุ่งเจริญ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | เป็นต้นแบบหลักสูตรการจัดการเรียนรู้บูรณาการและการอบรมครูเพื่อการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ การออกแบบรูปแบบหรือโมเดลการพัฒนาครูเชิงพื้นที่ |
งานวิจัย | การพัฒนาการรู้สะเต็มของครู โดยรูปแบบการพัฒนาวิชาชีพครูที่ใช้แหล่งเรียนรู้สะเต็มศึกษานอกห้องเรียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดภูเก็ต (ภูมิภาคภาคใต้ ประเทศไทย) |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | ผศ.ดร. ศิริวรรณ ฉัตรมณีรุ่งเจริญ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | ครูผู้สอนระดับประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การปะรถมศึกษาภูเก็ตได้นำแนวทางหรือรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ที่ส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน โดยเริ่มตั้งแต่การสร้างจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงสมรรถนะ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การวัดและประเมินฐานสมรรถนะ ตลอดจนการสะท้อนคิดเพื่อสร้างแนวปกิบัติที่ดีในชั้นเรียน โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ทักษะการคิดขั้นสูงในบริบทชั้นเรียนของจังหวัดภูเก็ต เพื่อครูสามารถนำประเด็นข้อค้นพบที่เกิดขึ้นต่อยอดเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาห้องเรียนต่อไป |
งานวิจัย | การส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูระดับประถมศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียนผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | อ. ภรทิพย์ สุขเพิ่ม |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | ครูผู้สอนระดับประถมศึกษาในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดจังหวัดภูเก็ตได้นำแนวทางหรือรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ที่ส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน โดยเริ่มตั้งแต่การสร้างจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงสมรรถนะ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การวัดและประเมินฐานสมรรถนะ ตลอดจนการสะท้อนคิดเพื่อสร้างแนวปกิบัติที่ดีในชั้นเรียน โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ทักษะการคิดขั้นสูงในบริบทชั้นเรียนของจังหวัดภูเก็ต เพื่อครูสามารถนำประเด็นข้อค้นพบที่เกิดขึ้นต่อยอดเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาห้องเรียนต่อไป |
งานวิจัย | การส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูระดับประถมศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียนผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | อ. สิทธิชัย อินทรมนเฑียร |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | กรมประมง |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | สามารถนำไปใช้แนะนำเกษตรกรที่เลี้ยงกุ้งทะเลที่มีอยู่จำนวนมากภายในเขตจังหวัดอันดามันและบริเวณอื่น ๆ ของประเทศนำไปปรับปรุงวิธีการเลี้ยง โดยเฉพาะการให้ความสำคัญกับการจัดการของเสียเน่าง่าย (easily decomposable organic matter) ภายในบ่อเลี้ยง ที่สะสมในดินตะกอนพื้นบ่อตามบริเวณและระดับชั้นความลึกต่าง ๆ เพื่อป้องกันหรือลดการเกิดโรค AHPND/EMS ในกุ้งทะเล ที่สร้างผลกระทบกับอุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้งทะเลของไทยและของโลกมายาวนานจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งสามารถทำนายการเกิดโรค AHPND/EMS จากตัวแปรดินและเชื้อที่สัมพันธ์กับการเกิดโรคได้ด้วยสมการ Logistic regression |
งานวิจัย | ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติดินพื้นบ่อกับการเกิดโรคตายด่วนในกุ้ง (Shrimp Early Mortality Syndrome: EMS) ในเขตจังหวัด ภูเก็ต พังงา และกระบี่” (โครงการต่อเนื่อง ปี 2) |
คณะ | คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
นักวิจัย | ผศ.ดร. สุวณิช ชัยนาค |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | ศึกษาธิการจังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | ครูผู้สอนระดับประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การปะรถมศึกษาภูเก็ตได้นำแนวทางหรือรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ที่ส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน โดยเริ่มตั้งแต่การสร้างจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงสมรรถนะ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การวัดและประเมินฐานสมรรถนะ ตลอดจนการสะท้อนคิดเพื่อสร้างแนวปกิบัติที่ดีในชั้นเรียน โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ทักษะการคิดขั้นสูงในบริบทชั้นเรียนของจังหวัดภูเก็ต เพื่อครูสามารถนำประเด็นข้อค้นพบที่เกิดขึ้นต่อยอดเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาห้องเรียนต่อไป |
งานวิจัย | การส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูระดับประถมศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียนผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | อ. ภรทิพย์ สุขเพิ่ม |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | ครูผู้สอนระดับประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การปะรถมศึกษาภูเก็ตได้นำแนวทางหรือรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ที่ส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน โดยเริ่มตั้งแต่การสร้างจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงสมรรถนะ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การวัดและประเมินฐานสมรรถนะ ตลอดจนการสะท้อนคิดเพื่อสร้างแนวปกิบัติที่ดีในชั้นเรียน โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ทักษะการคิดขั้นสูงในบริบทชั้นเรียนของจังหวัดภูเก็ต เพื่อครูสามารถนำประเด็นข้อค้นพบที่เกิดขึ้นต่อยอดเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาห้องเรียนต่อไป |
งานวิจัย | การส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูระดับประถมศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียนผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | อ. ภรทิพย์ สุขเพิ่ม |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | ครูผู้สอนระดับประถมศึกษาในสังกัดศึกษาธิการจังหวัดภูเก็ตได้นำแนวทางหรือรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ที่ส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน โดยเริ่มตั้งแต่การสร้างจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงสมรรถนะ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การวัดและประเมินฐานสมรรถนะ ตลอดจนการสะท้อนคิดเพื่อสร้างแนวปกิบัติที่ดีในชั้นเรียน โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ทักษะการคิดขั้นสูงในบริบทชั้นเรียนของจังหวัดภูเก็ต เพื่อครูสามารถนำประเด็นข้อค้นพบที่เกิดขึ้นต่อยอดเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาห้องเรียนต่อไป |
งานวิจัย | การส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูระดับประถมศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียนผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | อ. สิทธิชัย อินทรมนเฑียร |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | สำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | ครูผู้สอนระดับประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การปะรถมศึกษาภูเก็ตได้นำแนวทางหรือรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ที่ส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน โดยเริ่มตั้งแต่การสร้างจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงสมรรถนะ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การวัดและประเมินฐานสมรรถนะ ตลอดจนการสะท้อนคิดเพื่อสร้างแนวปกิบัติที่ดีในชั้นเรียน โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ทักษะการคิดขั้นสูงในบริบทชั้นเรียนของจังหวัดภูเก็ต เพื่อครูสามารถนำประเด็นข้อค้นพบที่เกิดขึ้นต่อยอดเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาห้องเรียนต่อไป |
งานวิจัย | การส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูระดับประถมศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียนผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | อ. สิทธิชัย อินทรมนเฑียร |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | คณะพรสวรรค์,ชุมชนบ้านแหลมตุ๊กแก ตำบลรัษฎา อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | การนำผลการศึกษาวิจัย นำไปสู่กิจกรรมการสร้างคุณค่าทางจิตใจ ยกระดับจิตใจ ซึ่งทำให้คนตระหนักและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น สำนึกรักบ้านเกิด |
งานวิจัย | การยกระดับผู้ประกอบการนิเวศวิทยาวัฒนธรรม กรณีศึกษา ชุมชนบ้านแหลมตุ๊กแก ตำบลรัษฎา อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต |
คณะ | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
นักวิจัย | อ.ดร. ชลิดา แย้มศรีสุข |
ปีปฏิทิน | 2023 |
ปีงบประมาณ | 2023 |
ปีการศึกษา | 2022 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | องค์การบริหารส่วนตำบลลำภี |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | 1. การนำผลการวิจัยไปใช้ช่วยให้ผู้ประกอบการ SMEs ในชุมชนมีความสามารถในการปรับปรุงการบริการ การสร้างภาพลักษณ์ที่ดี และการพัฒนาธุรกิจในรูปแบบที่ยั่งยืน ส่งผลให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจในท้องถิ่น ลดความยากจนและเสริมสร้างรายได้ให้แก่ครัวเรือนในชุมชน 2.ผลการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพของผู้ประกอบการในชุมชนสามารถนำไปใช้ในการสร้างกลไกหรือระบบสนับสนุนที่ช่วยเสริมศักยภาพของผู้ประกอบการ เช่น การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมที่เหมาะสม การสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการในชุมชน และการสนับสนุนองค์กรต่าง ๆ ที่มีบทบาทในการพัฒนาธุรกิจท้องถิ่นให้มีความยั่งยืน การใช้ผลวิจัยในการจัดตั้งระบบสนับสนุนสามารถช่วยเพิ่มโอกาสให้ผู้ประกอบการท้องถิ่นพัฒนาธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
งานวิจัย | การพัฒนาบุคลิกภาพของผู้ประกอบการท้องถิ่นของชุมชนบ้านลำภี จังหวัดพังงา |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | อ. ธรรมนูญ คงสวัสดิ์ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | ศูนย์ป่าไม้ภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | ศูนย์ป่าไม้ภูเก็ตได้รับรองงานวิจัยเรื่อง การอนุรักษ์ป่าชุมชนห้วยน้ำท่อ บ้านไสยวน ภายใตัการบริการจัดการแบบมีส่วนร่วม ตำบลราไวย์ อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต ซึ่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งเชิงสาธารณะ เชิงนโยบาย เชิงพาณิชย์ ทางอ้อม และตามวัตถุประสงค์ ซึ่งงานวิจัยชิ้นนี้ีส่วนต่อป่าชุมชนซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของศูนย์ป่าไม้ภูเก็ต |
คณะ | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
นักวิจัย | ดร. จารุณี คงกุล |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | เทศบาลตำบลรัษฎา |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | 1)การนำไปใช้ประโยชน์เชิงสาธารณะ (ด้านการจัดการ SME) โดยสามารถพัฒนากลุ่มผลิตภัณฑ์สู่การเป็นผู้ประกอบการได้ 2) การนำไปใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย การนำไปใช้ระบบหรือเชิงกลไกที่ก่อให้เกิดการพัฒนาองค์กร โดยสามารถนำไปใช้ในการวางนโยบายแผนงาน โครงการ กิจกรรม ให้สอดคล้องกับกลุ่มผลิตภัณฑ์ได้ 3)การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ โดยสามารถพัฒนากลุ่มผลิตภัณฑ์ให้มีประสิทธิภาพในการผลิตมากยิ่งขึ้น 4)การใช้ประโยชน์ทางอ้อมของงานวิจัย ประธานในชุมชนเกิดการรวมกลุ่มและรวมตัวกันในการสานสัมพันธ์ที่ดี ทั้งนี้ องค์ความรู้จากการวิจัยสามารถนำไปกำหนดนโยบายแผนงาน โครงการ/กิจกรรม ให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพื้นที่ |
งานวิจัย | การพัฒนากลุ่มผลิตภัณฑ์สู่วิสาหกิจชุมชน เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและรองรับธุรกิจชุมชนในยุคดิจิทัล |
คณะ | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
นักวิจัย | อ.ดร. วาสนา ศรีนวลใย |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ศูนย์กลุ่มจังหวัดให้บริการ SME ครบวงจร ภาคใต้ฝั่งอันดามัน จังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | 1) การจัดการ SME หน่วยงานสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับจากผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการธุรกิจ โดยให้ความสำคัญทรัพยากรภายในของผู้ประกอบการในด้านความรู้สำหรับผู้ประกอบการ ทักษะความสามารถเชิงสมรรถนะด้านการเป็นผู้ประกอบการ และระบบนิเวศทางธุรกิจที่ช่วยส่งเสริมสนับสนุนผู้ประกอบการท้องถิ่นดำเนินธุรกิจได้ประสบความสำเร็จ 2) การนำไปใช้ระบบหรือเชิงกลไกที่ก่อให้เกิดการพัฒนาองค์กร หรือเครือข่ายชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม หน่วยงานสามารถใช้ผลการวิจัยเป็นแนวทางในการกำหนดแผนนโยบายเพื่อพัฒนาระบบนิเวศทางธุรกิจให้สามารถช่วยเอื้ออำนวยสนับสนุนผู้ประกอบการท้องถิ่น โดยเฉพาะการสนับสนุนพื้นที่ในการทำงานธุรกิจร่วมกันของคนในชุมชน การสนับสนุนช่องทางการตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อส่งเสริมผลักดันให้ผู้ประกอบการประสบความสำเร็จ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจตามที่กำหนดไว้ในนโยบายการพัฒนาประเทศได้ 3) นำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ผลการวิจัยสามารถนำข้อมูลใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจให้ผู้ประกอบการสามารถสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันทางธุรกิจ และส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในพื้นที่เศรษฐกิจฝั่งอันดามันของประเทศไทย สามารถบรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายธุรกิจและเติบโตได้อย่างยั่งยืน |
งานวิจัย | ตัวแบบสมการโครงสร้างของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อศักยภาพทางธุรกิจของวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในพื้นที่เศรษฐกิจฝั่ง อันดามันของประเทศไทย |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | อ.ดร. พิมพิกา พูลสวัสดิ์ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |