หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | ครูผู้สอนระดับประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การปะรถมศึกษาภูเก็ตได้นำแนวทางหรือรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ที่ส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน โดยเริ่มตั้งแต่การสร้างจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงสมรรถนะ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การวัดและประเมินฐานสมรรถนะ ตลอดจนการสะท้อนคิดเพื่อสร้างแนวปกิบัติที่ดีในชั้นเรียน โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ทักษะการคิดขั้นสูงในบริบทชั้นเรียนของจังหวัดภูเก็ต เพื่อครูสามารถนำประเด็นข้อค้นพบที่เกิดขึ้นต่อยอดเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาห้องเรียนต่อไป |
งานวิจัย | การส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูระดับประถมศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียนผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | อ. ภรทิพย์ สุขเพิ่ม |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | ครูผู้สอนระดับประถมศึกษาในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดจังหวัดภูเก็ตได้นำแนวทางหรือรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ที่ส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน โดยเริ่มตั้งแต่การสร้างจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงสมรรถนะ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การวัดและประเมินฐานสมรรถนะ ตลอดจนการสะท้อนคิดเพื่อสร้างแนวปกิบัติที่ดีในชั้นเรียน โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ทักษะการคิดขั้นสูงในบริบทชั้นเรียนของจังหวัดภูเก็ต เพื่อครูสามารถนำประเด็นข้อค้นพบที่เกิดขึ้นต่อยอดเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาห้องเรียนต่อไป |
งานวิจัย | การส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูระดับประถมศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียนผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | อ. สิทธิชัย อินทรมนเฑียร |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | กรมประมง |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | สามารถนำไปใช้แนะนำเกษตรกรที่เลี้ยงกุ้งทะเลที่มีอยู่จำนวนมากภายในเขตจังหวัดอันดามันและบริเวณอื่น ๆ ของประเทศนำไปปรับปรุงวิธีการเลี้ยง โดยเฉพาะการให้ความสำคัญกับการจัดการของเสียเน่าง่าย (easily decomposable organic matter) ภายในบ่อเลี้ยง ที่สะสมในดินตะกอนพื้นบ่อตามบริเวณและระดับชั้นความลึกต่าง ๆ เพื่อป้องกันหรือลดการเกิดโรค AHPND/EMS ในกุ้งทะเล ที่สร้างผลกระทบกับอุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้งทะเลของไทยและของโลกมายาวนานจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งสามารถทำนายการเกิดโรค AHPND/EMS จากตัวแปรดินและเชื้อที่สัมพันธ์กับการเกิดโรคได้ด้วยสมการ Logistic regression |
งานวิจัย | ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติดินพื้นบ่อกับการเกิดโรคตายด่วนในกุ้ง (Shrimp Early Mortality Syndrome: EMS) ในเขตจังหวัด ภูเก็ต พังงา และกระบี่” (โครงการต่อเนื่อง ปี 2) |
คณะ | คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
นักวิจัย | ผศ.ดร. สุวณิช ชัยนาค |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | ศึกษาธิการจังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | ครูผู้สอนระดับประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การปะรถมศึกษาภูเก็ตได้นำแนวทางหรือรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ที่ส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน โดยเริ่มตั้งแต่การสร้างจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงสมรรถนะ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การวัดและประเมินฐานสมรรถนะ ตลอดจนการสะท้อนคิดเพื่อสร้างแนวปกิบัติที่ดีในชั้นเรียน โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ทักษะการคิดขั้นสูงในบริบทชั้นเรียนของจังหวัดภูเก็ต เพื่อครูสามารถนำประเด็นข้อค้นพบที่เกิดขึ้นต่อยอดเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาห้องเรียนต่อไป |
งานวิจัย | การส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูระดับประถมศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียนผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | อ. ภรทิพย์ สุขเพิ่ม |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | ครูผู้สอนระดับประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การปะรถมศึกษาภูเก็ตได้นำแนวทางหรือรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ที่ส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน โดยเริ่มตั้งแต่การสร้างจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงสมรรถนะ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การวัดและประเมินฐานสมรรถนะ ตลอดจนการสะท้อนคิดเพื่อสร้างแนวปกิบัติที่ดีในชั้นเรียน โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ทักษะการคิดขั้นสูงในบริบทชั้นเรียนของจังหวัดภูเก็ต เพื่อครูสามารถนำประเด็นข้อค้นพบที่เกิดขึ้นต่อยอดเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาห้องเรียนต่อไป |
งานวิจัย | การส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูระดับประถมศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียนผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | อ. ภรทิพย์ สุขเพิ่ม |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | ครูผู้สอนระดับประถมศึกษาในสังกัดศึกษาธิการจังหวัดภูเก็ตได้นำแนวทางหรือรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ที่ส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน โดยเริ่มตั้งแต่การสร้างจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงสมรรถนะ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การวัดและประเมินฐานสมรรถนะ ตลอดจนการสะท้อนคิดเพื่อสร้างแนวปกิบัติที่ดีในชั้นเรียน โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ทักษะการคิดขั้นสูงในบริบทชั้นเรียนของจังหวัดภูเก็ต เพื่อครูสามารถนำประเด็นข้อค้นพบที่เกิดขึ้นต่อยอดเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาห้องเรียนต่อไป |
งานวิจัย | การส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูระดับประถมศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียนผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | อ. สิทธิชัย อินทรมนเฑียร |
ปีปฏิทิน | 2025 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | สำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | ครูผู้สอนระดับประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การปะรถมศึกษาภูเก็ตได้นำแนวทางหรือรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ที่ส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน โดยเริ่มตั้งแต่การสร้างจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงสมรรถนะ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การวัดและประเมินฐานสมรรถนะ ตลอดจนการสะท้อนคิดเพื่อสร้างแนวปกิบัติที่ดีในชั้นเรียน โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ทักษะการคิดขั้นสูงในบริบทชั้นเรียนของจังหวัดภูเก็ต เพื่อครูสามารถนำประเด็นข้อค้นพบที่เกิดขึ้นต่อยอดเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาห้องเรียนต่อไป |
งานวิจัย | การส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูระดับประถมศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียนผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | อ. สิทธิชัย อินทรมนเฑียร |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | องค์การบริหารส่วนตำบลลำภี |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | 1. การนำผลการวิจัยไปใช้ช่วยให้ผู้ประกอบการ SMEs ในชุมชนมีความสามารถในการปรับปรุงการบริการ การสร้างภาพลักษณ์ที่ดี และการพัฒนาธุรกิจในรูปแบบที่ยั่งยืน ส่งผลให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจในท้องถิ่น ลดความยากจนและเสริมสร้างรายได้ให้แก่ครัวเรือนในชุมชน 2.ผลการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพของผู้ประกอบการในชุมชนสามารถนำไปใช้ในการสร้างกลไกหรือระบบสนับสนุนที่ช่วยเสริมศักยภาพของผู้ประกอบการ เช่น การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมที่เหมาะสม การสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการในชุมชน และการสนับสนุนองค์กรต่าง ๆ ที่มีบทบาทในการพัฒนาธุรกิจท้องถิ่นให้มีความยั่งยืน การใช้ผลวิจัยในการจัดตั้งระบบสนับสนุนสามารถช่วยเพิ่มโอกาสให้ผู้ประกอบการท้องถิ่นพัฒนาธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
งานวิจัย | การพัฒนาบุคลิกภาพของผู้ประกอบการท้องถิ่นของชุมชนบ้านลำภี จังหวัดพังงา |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | อ. ธรรมนูญ คงสวัสดิ์ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | ศูนย์ป่าไม้ภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | ศูนย์ป่าไม้ภูเก็ตได้รับรองงานวิจัยเรื่อง การอนุรักษ์ป่าชุมชนห้วยน้ำท่อ บ้านไสยวน ภายใตัการบริการจัดการแบบมีส่วนร่วม ตำบลราไวย์ อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต ซึ่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งเชิงสาธารณะ เชิงนโยบาย เชิงพาณิชย์ ทางอ้อม และตามวัตถุประสงค์ ซึ่งงานวิจัยชิ้นนี้ีส่วนต่อป่าชุมชนซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของศูนย์ป่าไม้ภูเก็ต |
คณะ | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
นักวิจัย | ดร. จารุณี คงกุล |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | เทศบาลตำบลรัษฎา |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | 1)การนำไปใช้ประโยชน์เชิงสาธารณะ (ด้านการจัดการ SME) โดยสามารถพัฒนากลุ่มผลิตภัณฑ์สู่การเป็นผู้ประกอบการได้ 2) การนำไปใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย การนำไปใช้ระบบหรือเชิงกลไกที่ก่อให้เกิดการพัฒนาองค์กร โดยสามารถนำไปใช้ในการวางนโยบายแผนงาน โครงการ กิจกรรม ให้สอดคล้องกับกลุ่มผลิตภัณฑ์ได้ 3)การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ โดยสามารถพัฒนากลุ่มผลิตภัณฑ์ให้มีประสิทธิภาพในการผลิตมากยิ่งขึ้น 4)การใช้ประโยชน์ทางอ้อมของงานวิจัย ประธานในชุมชนเกิดการรวมกลุ่มและรวมตัวกันในการสานสัมพันธ์ที่ดี ทั้งนี้ องค์ความรู้จากการวิจัยสามารถนำไปกำหนดนโยบายแผนงาน โครงการ/กิจกรรม ให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพื้นที่ |
งานวิจัย | การพัฒนากลุ่มผลิตภัณฑ์สู่วิสาหกิจชุมชน เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและรองรับธุรกิจชุมชนในยุคดิจิทัล |
คณะ | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
นักวิจัย | อ.ดร. วาสนา ศรีนวลใย |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ศูนย์กลุ่มจังหวัดให้บริการ SME ครบวงจร ภาคใต้ฝั่งอันดามัน จังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | 1) การจัดการ SME หน่วยงานสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับจากผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการธุรกิจ โดยให้ความสำคัญทรัพยากรภายในของผู้ประกอบการในด้านความรู้สำหรับผู้ประกอบการ ทักษะความสามารถเชิงสมรรถนะด้านการเป็นผู้ประกอบการ และระบบนิเวศทางธุรกิจที่ช่วยส่งเสริมสนับสนุนผู้ประกอบการท้องถิ่นดำเนินธุรกิจได้ประสบความสำเร็จ 2) การนำไปใช้ระบบหรือเชิงกลไกที่ก่อให้เกิดการพัฒนาองค์กร หรือเครือข่ายชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม หน่วยงานสามารถใช้ผลการวิจัยเป็นแนวทางในการกำหนดแผนนโยบายเพื่อพัฒนาระบบนิเวศทางธุรกิจให้สามารถช่วยเอื้ออำนวยสนับสนุนผู้ประกอบการท้องถิ่น โดยเฉพาะการสนับสนุนพื้นที่ในการทำงานธุรกิจร่วมกันของคนในชุมชน การสนับสนุนช่องทางการตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อส่งเสริมผลักดันให้ผู้ประกอบการประสบความสำเร็จ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจตามที่กำหนดไว้ในนโยบายการพัฒนาประเทศได้ 3) นำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ผลการวิจัยสามารถนำข้อมูลใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจให้ผู้ประกอบการสามารถสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันทางธุรกิจ และส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในพื้นที่เศรษฐกิจฝั่งอันดามันของประเทศไทย สามารถบรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายธุรกิจและเติบโตได้อย่างยั่งยืน |
งานวิจัย | ตัวแบบสมการโครงสร้างของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อศักยภาพทางธุรกิจของวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในพื้นที่เศรษฐกิจฝั่ง อันดามันของประเทศไทย |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | อ.ดร. พิมพิกา พูลสวัสดิ์ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | เทศบาลตำบลแหลมสัก |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | นำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนไปจัดทำแผนนโยบายพัฒนาการท่องเที่ยวและชุมชนจังหวัดกระบี่ และนำผลการวิจัยไปจัดทำโครงการต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเกิดรายได้ |
งานวิจัย | ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมท้องถิ่น ชุมชนบ้านถ้ำเสือและบ้านแหลมสัก อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ |
คณะ | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
นักวิจัย | ผศ.ดร. วรพงศ์ ไชยฤกษ์ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | เทศบาลตำบลอ่่าวลึกใต้ |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | นำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนไปจัดทำแผนนโยบายพัฒนาการท่องเที่ยวและชุมชนจังหวัดกระบี่ และนำผลการวิจัยไปจัดทำโครงการต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเกิดรายได้ |
งานวิจัย | ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมท้องถิ่น ชุมชนบ้านถ้ำเสือและบ้านแหลมสัก อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ |
คณะ | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
นักวิจัย | ผศ.ดร. วรพงศ์ ไชยฤกษ์ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | วัฒนธรรมจังหวัดกระบี่ |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | นำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนไปจัดทำแผนนโยบายพัฒนาการท่องเที่ยวและชุมชนจังหวัดกระบี่ |
งานวิจัย | ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมท้องถิ่น ชุมชนบ้านถ้ำเสือและบ้านแหลมสัก อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ |
คณะ | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
นักวิจัย | ผศ.ดร. วรพงศ์ ไชยฤกษ์ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดกระบี่ |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | นำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนไปจัดทำแผนนโยบายพัฒนาการท่องเที่ยวและชุมชนจังหวัดกระบี่ และนำผลการวิจัยไปจัดทำโครงการต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเกิดรายได้ |
งานวิจัย | ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมท้องถิ่น ชุมชนบ้านถ้ำเสือและบ้านแหลมสัก อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ |
คณะ | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
นักวิจัย | ผศ.ดร. วรพงศ์ ไชยฤกษ์ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Scopus |
---|---|
งานวิจัย | การรับรู้และความตั้งใจในการฉีดวัคซีนโควิด 19 ของผู้สูงอายุจังหวัดภูเก็ต |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ. ประไพพิมพ์ สุรเชษฐคมสัน |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | สมาคมกีฬาดำน้ำแห่งประเทศไทย |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | ประกอบข้อมูลเพื่อขับเคลื่่อนนโยบายทางธุรกิจและตลาดนักท่องเที่ยวดำน้ำสู่ความยั่งยืน |
งานวิจัย | การวิเคราะห์แรงจูงใจของนักท่องเที่ยวสำหรับจุดหมายปลายทางท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝั่ง กรณีศึกษาจังหวัดพังงา |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | อ. สุภัทรา สังข์ทอง |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | เทศบาลตำบลศรีสุนทร ภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | งานวิจัยครั้งนี้ได้มีการเผยแพร่ความรู้โดยมีการนำการออกกำลังกายด้วยการผสมผสานแรงต้านด้วยน้ำหนักกับแรงต้านยางยืดไปสาธิตให้กับชมรมผู้สูงอายุของเทศบาลตำบลศรีสุนทร จังหวัดภูเก็ต เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น |
งานวิจัย | ผลฉับพลันของการผสมผสานแรงต้านด้วยน้ำหนักกับแรงต้านยางยืดที่มีผลต่อการทำงานของหลอดเลือดในผู้สูงอายุ |
คณะ | คณะครุศาสตร์ |
นักวิจัย | ดร. กัมปนาท ประดิษฐ์เสรี |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Scopus |
---|---|
งานวิจัย | Finite-time event-triggered approach for recurrent neural networks with leakage term and its application |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ.ดร. ป.ปัทมา เหมมาชูเกียรติกุล |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | scopus |
---|---|
งานวิจัย | Global exponential stability of Clifford-valued neural networks with time-varying delays and impulsive effects |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ.ดร. ป.ปัทมา เหมมาชูเกียรติกุล |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | scopus |
---|---|
งานวิจัย | Global exponential stability of Clifford-valued neural networks with time-varying delays and impulsive effects |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ.ดร. ป.ปัทมา เหมมาชูเกียรติกุล |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Scopus |
---|---|
งานวิจัย | Strict dissipativity synchronization for delayed static neural networks: An event-triggered scheme |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ.ดร. ป.ปัทมา เหมมาชูเกียรติกุล |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Scopus |
---|---|
งานวิจัย | Dynamical analysis of a delayed food chain model with additive Allee effect |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ.ดร. ป.ปัทมา เหมมาชูเกียรติกุล |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | เทศบาลเมืองป่าตอง |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | การใช้ประโยชน์เพื่อการแก้ไขปัญหาในท้องถิ่น ในด้านการจัดการขยะก้นบุหรี่ ทำให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการ จัดหารที่วางเก็บก้นบุหรี่ ส่วนเชิงนโยบาย นำไปพัฒนาการจัดการขยะหาดป่าตองโดยเทศบาลและท้องถิ่นป่าตอง |
งานวิจัย | การจัดการขยะทะเลบริเวณชายหาดในจังหวัดภูเก็ต |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ. นิติญา สังขนันท์ |
ปีปฏิทิน | 2023 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Thai Journal Citation Index Centre |
---|---|
งานวิจัย | กลยุทธ์การสร้างคุณค่าในการเสริมสร้างความสามารถทางการแข่งขันของธุรกิจโรงแรมให้ก้าวไปข้างหน้าอย่างมีประสิทธิผล |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | ผศ. ณัฐวุฒิ เหมาะประมาณ |
ปีปฏิทิน | 2023 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Thai Journal Citation Index Centre |
---|---|
งานวิจัย | การประยุกต์เทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับอุตสาหกรรมโรงแรมยุคดิจิทัล |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | ผศ. ณัฐวุฒิ เหมาะประมาณ |
ปีปฏิทิน | 2023 |
ปีงบประมาณ | 2023 |
ปีการศึกษา | 2022 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Thai Journal Citation Index Centre |
---|---|
งานวิจัย | ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันรถยนต์: ในรายการการแข่งขัน บางแสน ไทยแลนด์ สปีด เฟสติวัล จังหวัดชลบุรี |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | ผศ. ณัฐวุฒิ เหมาะประมาณ |
ปีปฏิทิน | 2023 |
ปีงบประมาณ | 2023 |
ปีการศึกษา | 2022 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Thai Journal Citation Index Centre |
---|---|
งานวิจัย | นวัตกรรมการบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้โรงแรมของลูกค้ากลุ่มจังหวัดอันดามัน |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | ผศ. ณัฐวุฒิ เหมาะประมาณ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Thai Journal Citation Index Centre |
---|---|
งานวิจัย | การตัดสินใจใช้บริการโรงแรมผ่านระบบการจองออนไลน์ของนักท่องเที่ยวชาวจีนในพื้นที่กลุ่มจังหวัดฝั่งอันดามัน |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | ผศ. ณัฐวุฒิ เหมาะประมาณ |
ปีปฏิทิน | 2023 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Thai Journal Citation Index Centre |
---|---|
งานวิจัย | ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้โรงแรมขนาดเล็กในจังหวัด ภูเก็ตของนักท่องเที่ยวยุโรป |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | ผศ. ณัฐวุฒิ เหมาะประมาณ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Thai Journal Citation Index Centre |
---|---|
งานวิจัย | ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการจองห้องพักออนไลน์ของนักท่องเที่ยวในโครงการภูเก็ตแซนด์บ็อกซ์ |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | ผศ. ณัฐวุฒิ เหมาะประมาณ |
ปีปฏิทิน | 2023 |
ปีงบประมาณ | 2023 |
ปีการศึกษา | 2022 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Thai Journal Citation Index Centre |
---|---|
งานวิจัย | การประยุกต์เทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับอุตสาหกรรมโรงแรมยุคดิจิทัล |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | ผศ. ณัฐวุฒิ เหมาะประมาณ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Thai Journal Citation Index Centre |
---|---|
งานวิจัย | การตัดสินใจใช้บริการโรงแรมผ่านระบบการจองออนไลน์ของนักท่องเที่ยวชาวจีนในพื้นที่กลุ่มจังหวัดฝั่งอันดามัน |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | ผศ. ณัฐวุฒิ เหมาะประมาณ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Thai Journal Citation Index Centre |
---|---|
งานวิจัย | ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันรถยนต์: ในรายการการแข่งขัน บางแสน ไทยแลนด์ สปีด เฟสติวัล จังหวัดชลบุรี |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | ผศ. ณัฐวุฒิ เหมาะประมาณ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Scopus |
---|---|
งานวิจัย | Utilization of palm oil decanter cake as a novel substrate for biosurfactant production from a new and promising strain of Ochrobactrum anthropi 2 |
คณะ | คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
นักวิจัย | ผศ.ดร. อทิพันธ์ เสียมไหม |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | เป็นแนวทางสำหรับสาขาวิชาอื่น ในหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต ที่เปิดการเรียนการสอนในรายวิชาด้านเศรษฐศาสตร์ สามารถนำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิมากยิ่งขึ้น การเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กับสมาชิกในกลุ่มด้วยการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ตามหลักการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน |
งานวิจัย | การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์การจัดการสำหรับธุรกิจด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพของตลาด |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | ดร. รุ่งนภา อริยะพลปัญญา |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | สภาเกษตรกรจังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | 1. การนำไปใช้ประโยชน์เชิงสาธารณะ ผลของการสร้างสวนเกษตรในชุมชน ซึ่งเป็นพื้นที่สีเขียว (กินได้) ให้เป็นแหล่งผลิตอาหารปลอดสารพิษของคนในชุมชน เป็นการส่งเสริมการเพาะปลูกที่ทำให้ลดต้นทุน เพิ่มความหลากหลายของการเกษตร เป็นการส่งเสริมการพัฒนาอาชีพและการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อนำมาบริโภคในชุมชน อันเป็นการสร้างความมั่นคงทางอาหารของคนในชุมชน ส่งผลให้คนในชุมชนมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2. การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ คนในชุมชนได้รับความรู้ในการปลูกพืชผักสวนครัว การทำแปลงปลูกผักและปลูกผักลงในกระถางหรือสิ่งของเหลือใช้ การปลูกต้นไม้กินได้ บริเวณถนนสาธารณะ เป็นการจัดภูมิทัศน์ถนนด้วยแนวคิด “เปลี่ยนไม้ดอกเป็นไม้แดด” ซึ่งเป็นไม้ที่เป็นประเภทพืชผักสวนครัว ต้นไม้กินได้ เพื่อเป็นการส่งเสริมการพัฒนาอาชีพและการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อนำมาบริโภคในชุมชน 3. การใช้ประโยชน์ทางอ้อมของงานวิจัย/งานสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นการสร้างคุณค่าทางจิตใจ ยกระดับจิตใจ ก่อให้เกิดสุนทรีภาพ สร้างความสุข ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้พื้นที่ในชุมชน โดยการนำพื้นที่ที่มีอยู่มาใช้ประโยชน์ในการผลิตอาหารทั้งพื้นที่ของตนเอง พื้นที่รกร้างว่างเปล่า พื้นที่สาธารณะของชุมชนมาสร้างอาหารทั้งการเพาะปลูกพืชผัก ตามความเหมาะสมของพื้นที่ เป็นการสร้างพื้นที่สีเขียว (กินได้) ให้เป็นแหล่งผลิตอาหารของคนในชุมชน อันเป็นการสร้างความมั่นคงทางอาหารของคนในชุมชน และจัดภูมิทัศน์สวนเกษตร ให้มีสภาพแวดล้อมที่สวยงาม นอกจากนี้ ยังเป็นการชูอัตลักษณ์ของพื้นที่โดยการพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่ริมถนนสาธารณะให้เป็นถนนกินได้ ซึ่งสามารถส่งเสริมให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยวคาร์บอนต่ำ และการท่องเที่ยวเชิงความรู้ เป็นการฟื้นฟูและป้องกันปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. การใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์/เป้าหมายของงานวิจัย/งานสร้างสรรค์ คือ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตรที่มีความหลากหลายตามบริบทชุมชน |
งานวิจัย | แนวทางการพัฒนาภูมิทัศน์สถานศึกษาตามศักยภาพและบริบทชุมชน กรณีศึกษา : โรงเรียนบ้านพารา อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต |
คณะ | คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
นักวิจัย | ผศ.ดร. ปรัชมาศ ลัญชานนท์ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | สภาเกษตรกรจังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | 1. การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ผลของการส่งเสริมการเพาะปลูกดาหลา เป็นไม้ดอกอัตลักษณ์พื้นถิ่นภาคใต้ที่มีศักยภาพสูงอีกชนิดหนึ่ง ให้เป็นแหล่งผลิตอาหารของคนในครอบครัว อันเป็นการสร้างความมั่นคงทางอาหารของคนในชุมชน ช่วยให้คนในชุมชนมีสภาพความเป็นอยู่ดีขึ้น และมีรายได้เพิ่มขึ้น อันเนื่องมาจากผลผลิตที่เหลือจากการบริโภคสามารถนำมาจำหน่ายเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว ซึ่งการเพาะปลูกดาหลาเพื่อสร้างรายได้เสริมให้กับเกษตรกร สามารถลดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิผลของวัตถุดิบการเกษตรให้สูงขึ้น เพิ่มความหลากหลายของสินค้าเกษตร เนื่องจากสามารถปลูกเป็นพืชร่วมในสวนยางพารา สวนไม้ผล และอื่นๆ ได้ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ที่ดิน ทำให้สามารถสร้างอาชีพและสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนได้ และมีความต้องการของตลาดสูง คนในชุมชนสามารถที่จะเพาะและขยายพันธ์ดาหลาได้ ช่วยแก้ปัญหาด้านการผลิตไม้ดอกไม้ผลของกลุ่มชาวบ้านเดิมให้มีความรู้ในการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้น 2. การใช้ประโยชน์ทางอ้อมของงานวิจัย/งานสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นการสร้างคุณค่าทางจิตใจ ยกระดับจิตใจ ก่อให้เกิดสุนทรีภาพ สร้างความสุข เป็นการอนุรักษ์ไม้ดอกพันธุ์ดีของไทยมิให้สูญพันธุ์ รวมทั้งเป็นการชูอัตลักษณ์ของพื้นที่สวนยางพาราที่มีไม้ดอกไม้ประดับ โดยสามารถส่งเสริมให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยวคาร์บอนต่ำ และการท่องเที่ยวเชิงความรู้ เป็นการฟื้นฟูและป้องกันปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ ช่วยฟื้นฟูระบบนิเวศภายในพื้นที่เกษตร และเกิดความยั่งยืนในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้อีกด้วย ซึ่งนอกจากทำให้เกิดกระจายรายได้สู่ชุมชนแล้วยังเป็นการเชื่อมโยงสู่ภาคเศรษฐกิจอื่นๆ เป็นการสร้างตัวคูณทางรายได้อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ยังสามารถใช้พื้นที่สวนเกษตรนี้เป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับเด็กๆ ในครอบครัว เพื่อเพิ่มทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองของเยาวชนในชุมชน คนในชุมชนได้ความรู้ด้านการเกษตรและชุมชนมีพื้นที่สีเขียวในครัวเรือนเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นทั้งกาย ใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม ของประชาชนในชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่เป้าหมาย ซึ่งเป็นการส่งเสริมเกษตรและความมั่นคงทางอาหารของกลุ่มชุมชนที่มีความเปราะบางด้านอาหาร 3. การใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์/เป้าหมายของงานวิจัย/งานสร้างสรรค์ คือ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตรที่มีความหลากหลายตามบริบทชุมชน |
งานวิจัย | แนวทางการพัฒนาภูมิทัศน์สถานศึกษาตามศักยภาพและบริบทชุมชน กรณีศึกษา : โรงเรียนบ้านพารา อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต |
คณะ | คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
นักวิจัย | ผศ.ดร. ปรัชมาศ ลัญชานนท์ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | เทศบาลเมืองกะทู้ |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | - เส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนกะทู้ - คนในชุมชนเกิดความภาคภูมิใจ และตระหนักถึงความสำคัญของมรดกทางวัฒนธรรมของท้องถิ่น และสามารถรักษามรดกทางวัฒนธรรม เอกลักษณ์ วิถีชีวิตและวัฒนธรรมท้องถิ่นให้คงอยู่ เพื่อสร้างแรงดึงดูดทางการท่องเที่ยวอันจะนำมาซึ่งเศรษฐกิจที่ดีขึ้นของชุมชน - ศักยภาพเชิงพื้นที่ของมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนกะทู้ - รูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนกะทู้ และการให้บริการที่เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทของชุมชนกะทู้ เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยใช้ศักยภาพเชิงพื้นที่เป็นกลยุทธ์หลัก - มีฐานข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนกะทู้ ที่สามารถนำมาพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนกะทู้ - มีแนวทางการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนกะทู้ - เทศบาลเมืองกะทู้สามารถนำผลการวิจัยไปประกอบการกำหนดนโยบายและแผนพัฒนาการท่องเที่ยวเทศบาลเมืองกะทู้ |
งานวิจัย | การศึกษาศักยภาพเชิงพื้นที่เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนกะทู้ อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต |
คณะ | คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
นักวิจัย | ผศ.ดร. ปรัชมาศ ลัญชานนท์ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Scopus |
---|---|
งานวิจัย | Utilization of banana peel as a novel substrate for biosurfactant production by Halobacteriaceae archaeon AS65 |
คณะ | คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
นักวิจัย | ผศ.ดร. อทิพันธ์ เสียมไหม |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Scopus |
---|---|
งานวิจัย | Isolation and functional characterization of a biosurfactant produced by a new and promising strain of Oleomonas sagaranensis AT18 |
คณะ | คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
นักวิจัย | ผศ.ดร. อทิพันธ์ เสียมไหม |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | scopus |
---|---|
งานวิจัย | Flavonoids from Friesodielsia discolor |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ดร. อับดุลวาหาบ สาแล๊ะ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Scopus |
---|---|
งานวิจัย | LOCAL TRAVEL BEHAVIOR DURING COVID – 19 : A PRELIMINARY STUDY |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | ผศ.ดร. ชิดชนก อนันตมงคลกุล |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Scopus |
---|---|
งานวิจัย | Thai University Student Travel Behavior: An Extension of Theory of Planned Behavior |
คณะ | คณะวิทยาการจัดการ |
นักวิจัย | ผศ.ดร. ชิดชนก อนันตมงคลกุล |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | scopus |
---|---|
งานวิจัย | Andrographolide targets EGFR to impede epithelial–mesenchymal transition in human breast cancer cells |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ดร. อับดุลวาหาบ สาแล๊ะ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | scopus |
---|---|
งานวิจัย | Phukettosides A–E, mono- and bis-iridoid glycosides, from the leaves of Morinda umbellata L |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ดร. อับดุลวาหาบ สาแล๊ะ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2025 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | scopus |
---|---|
งานวิจัย | Antiplasmodial dimeric chalcone derivatives from the roots of Uvaria siamensis |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ดร. อับดุลวาหาบ สาแล๊ะ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | Scopus |
---|---|
งานวิจัย | ความรู้ การรับรู้และการปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคระบาดไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ. ประไพพิมพ์ สุรเชษฐคมสัน |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2024 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต |
---|---|
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ | กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และผู้รับผิดชอบงานกัญชาทางการแพทย์ ใช้ประโยชน์ในการวางแผนการให้บริการกัญชาทางการแพทย์ เป็นข้อมูลในการให้บริการผู้ป่วยและสร้างความเข้าใจในการใช้กัญชาทางการแพทย์อย่างปลอดภัยแก่ประชาชน และให้ความรู้เพิ่มเติมแก่ประชาชนที่สนใจเข้ารับบริการกัญชาทางการแพทย์ในสถานพยาบาลได้ |
งานวิจัย | ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพในการใช้กัญชาทางการแพทย์ของประชาชนไทยในพื้นที่ภาคใต้ |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ผศ. ประไพพิมพ์ สุรเชษฐคมสัน |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ | ACG publications |
---|---|
งานวิจัย | Antiplasmodial dimeric chalcone derivatives from the roots of Uvaria siamensis |
คณะ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
นักวิจัย | ดร. อับดุลวาหาบ สาแล๊ะ |
ปีปฏิทิน | 2024 |
ปีงบประมาณ | 2024 |
ปีการศึกษา | 2023 |
เอกสาร | เอกสารหลักฐาน |